ReadyPlanet.com


รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันที่ 7 สิงหาคม 2559


 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทำไมต้องลงประชามติ

 

สุริยันต์ ทองหนูเอียด

หลังจากนายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ ประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ กล่าวบนเวทีการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 ประจำการศึกษา 2557 ที่ ม.รังสิต เมื่อ 7 พฤษภาคม 2558 ที่ผ่านมาว่า

“ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องทำประชามติ ด้วยเหตุผลคือรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เป็นฉบับประชาชน รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 เป็นฉบับที่ผ่านประชามติ ดังนั้น เมื่อยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จะมีเหตุผลใดที่จะไม่นำรัฐธรรมนูญ กลับไปหาประชาชนอีก แต่การจะให้มีการออกเสียงประชามติได้ ต้องแก้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557 โดยความเห็นชอบร่วมกันของ คสช., ครม. และ สนช.”

นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ กล่าวต่อไปว่า ซึ่งหากจะดำเนินการก็ต้องขยายเวลาออกไปอีกระยะหนึ่ง และต้องจัดส่งร่างรัฐธรรมนูญกว่า 42 ล้านฉบับ เพื่อส่งให้ประชาชนศึกษา ก่อนจะออกเสียงประชามติ 
“หากทำประชามติ คงไม่ใช่ใช้เวลาเพียง 1 เดือน อย่างที่คนเขาพูด เพราะต้องมีกระบวนการ เช่น พิมพ์ร่างรัฐธรรมนูญจำนวน 42 ล้านฉบับ เพื่อแจกให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งได้พิจารณาและเปิดเวที ทั้งผ่านสถานีโทรทัศน์ วิทยุ ให้ทุกภาคส่วนและทุกฝ่าย ทั้งที่เห็นด้วย กับไม่เห็นด้วย แสดงความเห็นได้อย่างเต็มที่ ก่อนที่จะให้ประชาชนไปหย่อนบัตรออกเสียงประชามติ ดังนั้น ต้องใช้เวลามากกว่า 1 เดือน แต่หากจะใช้เวลาเพียง 1 เดือนจริง อาจเป็นวิธีที่ไม่เป็นไปตามหลักสากล”

ผู้เขียน เห็นว่า นอกจากเหตุผลที่นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ ประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญกล่าวถึงการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่จำเป็นต้องกลับไปให้ประชาชนลงให้ประชามติแล้ว

ประการแรก การยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในสถานการณ์ปัจจุบันที่ประชาชนต้องการให้มีการปฏิรูปประเทศทั้งระบบ แต่ในสถานการณ์พิเศษเช่นนี้ พบว่าประชาชนมีส่วนร่วมในการยกร่างน้อยมาก

ทั้งนี้อาจจะเป็นเพราะว่ากระบวนการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันจำกัดอยู่ในวงแคบ รวมทั้งเงื่อนไขของกฎอัยการศึกและการใช้อำนาจตามมาตรา 44 ทำให้บรรยากาศไม่ส่งเสริมการยกร่างเท่าที่ควร

ประการต่อมา เมื่อเปรียบเทียบกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการยกร่างรัฐธรรมปี 2540 ประชาชนตื่นตัวอย่างกว้างขวางมีการจัดเวทีทั่วประเทศ ระดมข้อเสนอต่อเนื้อหารัฐธรรมนูญอย่างเข้มข้น
ดังเช่น การเคลื่อนไหวของเครือข่ายองค์กรประชาธิปไตยและองค์กรประชาชน 30 องค์กร ซึ่งมีคณะกรรมการณรงค์เพื่อประชิปไตย(ครป.) เป็นกองเลขานุการและศูนย์ประสานงานองค์กรประชาชนทั่วประเทศ เพื่อรวบรวมและประมวลข้อคิดเห็นจากประชาชนเครือข่ายต่างๆ ในการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน โดยคำนึงถึงกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน โดยเฉพาะประชาชนคนยากจน ผู้ไร้โอกาสทางสังคม คนชายขอบ และประชาชนผู้รักชาติรักประชาธิปไตย เครือข่ายองค์กรนักธุรกิจ นิสิตนักศึกษา ปัญญาชน กลุ่มผู้ใช้แรงงาน สหภาพรัฐวิสาหกิจกลุ่มต่างๆ เพื่อนำเสนอต่อสภาร่างรัฐธรรมนูญ(สสร.) อย่างต่อเนื่อง และได้เข้าร่วมเคลื่อนไหวกับภาคประชาชนเพื่อผลักดันร่างรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว จนรัฐสภาได้ผ่านความเห็นชอบในที่สุดและมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2540 เป็นต้น
ขณะที่การยกร่างรัฐธรรมนูญปี 2550 แม้จะมีความขัดแย้งทางความคิดทางการเมือง แต่ก็มีการถกเถียงแลกเปลี่ยนในเหตุผลความเห็นต่าง ทั้งสนับสนุนและคัดค้านรัฐธรรมนูญจนถึงการทำประชามติ

ดังเป็นรับทราบว่า เมื่อสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) ปี 2550 ยกร่างรัฐธรรมนูญเสร็จแล้ว จึงได้มีการทำประชามติเพื่อขอความเห็นชอบจากประชาชน เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2550 โดยผลปรากฏว่า

ผู้มีสิทธิลงประชามติ จำนวน 45,092,955 คน มาลงประชามติ 25,978,954 คน คิดเป็น 57.61% ไม่มาลงประชามติ 19,114,001 คน หรือ 42.39% ผลการลงประชามติ เห็นชอบ 14,727,306 หรือ 57.81% ไม่เห็นชอบ 10,747,441 หรือ 42.19 %ไม่เห็นชอบ หลังจากนั้น จึงได้นำทูลเกล้าฯ ถวายให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 และได้จัดให้มีเลือกตั้งใหม่ในเวลาต่อมา

การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จึงเป็นกระบวนการเรียนรู้ทางการเมืองครั้งสำคัญของสังคมที่คนไทยลุกขึ้นมาถกเถียงแลกเปลี่ยนทั้งเห็นด้วยและคัดค้าน อันนำมาซึ่งการตื่นตัวของประชาชน

ดังนั้น เมื่อรัฐธรรมนูญปี 2550 ต้องยกเลิกไปด้วยเหตุผลของการเข้าควบคุมอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จึงต้องขอประชามติก่อน

ประการที่สำคัญ ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่กำหนดเจตนารมณ์สำคัญ คือ สร้างพลเมืองเป็นใหญ่ ทำการเมืองใสสะอาดและสมดุล หนุนสังคมที่เป็นธรรมและนำชาติสู่สันติสุข โดยคณะผู้ยกร่างชุดนี้นั้น

ความเป็นประชาชน จาก “ไพร่ฟ้าหน้าใส” ในยุคอดีตสู่ความเป็น “ราษฎร” จากการอภิวัฒน์ 2475 จนถึง “พลเมือง” ตามความหมายของร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ก็ยังมีข้อสงสัยนัยยะต่างๆ จากหลายส่วน

รวมไปถึงระบบการเลือกตั้งแบบใหม่ การเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ ตามมาตรา 105,106 หรือที่เรียกว่า แบบ open list ที่เปิดโอกาสให้พลเมืองสามารถเลือกตัวบุคคลที่ต้องการให้เป็นผู้แทนราษฎรได้

มาตรา 105 บัญญัติว่า การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกบัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งที่พรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมืองจัดทำขึ้น โดยให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกบัญชีรายชื่อใดบัญชีรายชื่อหนึ่งเพียงบัญชีเดียว และอาจระบุด้วยว่าต้องการให้ผู้ใดที่มีชื่อในบัญชีนั้นหนึ่งคนได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาตรา 106 บัญญัติว่า การกำหนดเขตเลือกตั้ง สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ให้จัดแบ่งพื้นที่ประเทศออกเป็นหกภาค และให้แต่ละภาคเป็นเขตเลือกตั้ง 
กลุ่มการเมืองรวมทั้งอำนาจหน้าที่ขององค์กรใหม่ 11 องค์กรตามร่างรัฐธรรมนูญ เหล่านี้เป็นเรื่องใหม่ที่ประชาชนยังไม่เข้าใจ จำเป็นที่ผู้ยกร่างฯ ต้องเปิดเวทีให้ความรู้ความเข้าใจกับประชาชนโดยเร่งด่วน

การลงประชามติ จึงกระบวนการสำคัญในการขอฉันทานุมัติตามหลักการร่างรัฐธรรมนูญที่ดี อันจะนำมาซึ่งการตื่นตัวทางการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปฏิรูปประเทศต่อไปในอนาคต

----------------------------------
หมายเหตุ พิมพ์ครั้งแรกในคอลัมน์ “ชานชาลาประชาชน”
หนังสือแทบลอยด์ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 10-16 พฤษภาคม 2558  

 

พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ


สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล


www.apdi2002.com

 

16 เม.ย.59

 



ผู้ตั้งกระทู้ พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ :: วันที่ลงประกาศ 2016-04-16 14:08:28 IP : 125.26.231.144


[1] 2 ถัดไป >>

ความคิดเห็นที่ 1 (3916978)

 “ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องทำประชามติ ด้วยเหตุผลคือรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เป็นฉบับประชาชน รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 เป็นฉบับที่ผ่านประชามติ ดังนั้น เมื่อยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จะมีเหตุผลใดที่จะไม่นำรัฐธรรมนูญ กลับไปหาประชาชนอีก แต่การจะให้มีการออกเสียงประชามติได้ ต้องแก้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557 โดยความเห็นชอบร่วมกันของ คสช., ครม. และ สนช.”

 

 พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com  

FB. สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

 

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-04-17 16:58:20 IP : 125.26.212.116


ความคิดเห็นที่ 2 (3917139)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทำไมต้องลงประชามติ

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-04-18 20:18:07 IP : 125.26.222.179


ความคิดเห็นที่ 3 (3917169)

  “ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องทำประชามติ ด้วยเหตุผลคือรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เป็นฉบับประชาชน รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 เป็นฉบับที่ผ่านประชามติ ดังนั้น เมื่อยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จะมีเหตุผลใดที่จะไม่นำรัฐธรรมนูญ กลับไปหาประชาชนอีก แต่การจะให้มีการออกเสียงประชามติได้ ต้องแก้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557 โดยความเห็นชอบร่วมกันของ คสช., ครม. และ สนช.”

 

 พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com  

FB. สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-04-19 08:28:16 IP : 125.26.238.120


ความคิดเห็นที่ 4 (3917684)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทำไมต้องลงประชามติ

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-04-22 08:27:53 IP : 118.174.161.106


ความคิดเห็นที่ 5 (3917990)

  “ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องทำประชามติ ด้วยเหตุผลคือรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เป็นฉบับประชาชน รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 เป็นฉบับที่ผ่านประชามติ ดังนั้น เมื่อยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จะมีเหตุผลใดที่จะไม่นำรัฐธรรมนูญ กลับไปหาประชาชนอีก แต่การจะให้มีการออกเสียงประชามติได้ ต้องแก้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557 โดยความเห็นชอบร่วมกันของ คสช., ครม. และ สนช.”

 

 พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com  

FB. สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-04-25 08:34:10 IP : 125.26.210.131


ความคิดเห็นที่ 6 (3918362)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-04-27 07:43:05 IP : 125.26.210.42


ความคิดเห็นที่ 7 (3918795)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทำไมต้องลงประชามติ

 

สุริยันต์ ทองหนูเอียด

หลังจากนายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ ประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ กล่าวบนเวทีการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 ประจำการศึกษา 2557 ที่ ม.รังสิต เมื่อ 7 พฤษภาคม 2558 ที่ผ่านมาว่า

“ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องทำประชามติ ด้วยเหตุผลคือรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เป็นฉบับประชาชน รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 เป็นฉบับที่ผ่านประชามติ ดังนั้น เมื่อยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จะมีเหตุผลใดที่จะไม่นำรัฐธรรมนูญ กลับไปหาประชาชนอีก แต่การจะให้มีการออกเสียงประชามติได้ ต้องแก้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557 โดยความเห็นชอบร่วมกันของ คสช., ครม. และ สนช.”

นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ กล่าวต่อไปว่า ซึ่งหากจะดำเนินการก็ต้องขยายเวลาออกไปอีกระยะหนึ่ง และต้องจัดส่งร่างรัฐธรรมนูญกว่า 42 ล้านฉบับ เพื่อส่งให้ประชาชนศึกษา ก่อนจะออกเสียงประชามติ 
“หากทำประชามติ คงไม่ใช่ใช้เวลาเพียง 1 เดือน อย่างที่คนเขาพูด เพราะต้องมีกระบวนการ เช่น พิมพ์ร่างรัฐธรรมนูญจำนวน 42 ล้านฉบับ เพื่อแจกให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งได้พิจารณาและเปิดเวที ทั้งผ่านสถานีโทรทัศน์ วิทยุ ให้ทุกภาคส่วนและทุกฝ่าย ทั้งที่เห็นด้วย กับไม่เห็นด้วย แสดงความเห็นได้อย่างเต็มที่ ก่อนที่จะให้ประชาชนไปหย่อนบัตรออกเสียงประชามติ ดังนั้น ต้องใช้เวลามากกว่า 1 เดือน แต่หากจะใช้เวลาเพียง 1 เดือนจริง อาจเป็นวิธีที่ไม่เป็นไปตามหลักสากล”

ผู้เขียน เห็นว่า นอกจากเหตุผลที่นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ ประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญกล่าวถึงการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่จำเป็นต้องกลับไปให้ประชาชนลงให้ประชามติแล้ว

ประการแรก การยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในสถานการณ์ปัจจุบันที่ประชาชนต้องการให้มีการปฏิรูปประเทศทั้งระบบ แต่ในสถานการณ์พิเศษเช่นนี้ พบว่าประชาชนมีส่วนร่วมในการยกร่างน้อยมาก

ทั้งนี้อาจจะเป็นเพราะว่ากระบวนการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันจำกัดอยู่ในวงแคบ รวมทั้งเงื่อนไขของกฎอัยการศึกและการใช้อำนาจตามมาตรา 44 ทำให้บรรยากาศไม่ส่งเสริมการยกร่างเท่าที่ควร

ประการต่อมา เมื่อเปรียบเทียบกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการยกร่างรัฐธรรมปี 2540 ประชาชนตื่นตัวอย่างกว้างขวางมีการจัดเวทีทั่วประเทศ ระดมข้อเสนอต่อเนื้อหารัฐธรรมนูญอย่างเข้มข้น
ดังเช่น การเคลื่อนไหวของเครือข่ายองค์กรประชาธิปไตยและองค์กรประชาชน 30 องค์กร ซึ่งมีคณะกรรมการณรงค์เพื่อประชิปไตย(ครป.) เป็นกองเลขานุการและศูนย์ประสานงานองค์กรประชาชนทั่วประเทศ เพื่อรวบรวมและประมวลข้อคิดเห็นจากประชาชนเครือข่ายต่างๆ ในการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน โดยคำนึงถึงกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน โดยเฉพาะประชาชนคนยากจน ผู้ไร้โอกาสทางสังคม คนชายขอบ และประชาชนผู้รักชาติรักประชาธิปไตย เครือข่ายองค์กรนักธุรกิจ นิสิตนักศึกษา ปัญญาชน กลุ่มผู้ใช้แรงงาน สหภาพรัฐวิสาหกิจกลุ่มต่างๆ เพื่อนำเสนอต่อสภาร่างรัฐธรรมนูญ(สสร.) อย่างต่อเนื่อง และได้เข้าร่วมเคลื่อนไหวกับภาคประชาชนเพื่อผลักดันร่างรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว จนรัฐสภาได้ผ่านความเห็นชอบในที่สุดและมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2540 เป็นต้น
ขณะที่การยกร่างรัฐธรรมนูญปี 2550 แม้จะมีความขัดแย้งทางความคิดทางการเมือง แต่ก็มีการถกเถียงแลกเปลี่ยนในเหตุผลความเห็นต่าง ทั้งสนับสนุนและคัดค้านรัฐธรรมนูญจนถึงการทำประชามติ

ดังเป็นรับทราบว่า เมื่อสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) ปี 2550 ยกร่างรัฐธรรมนูญเสร็จแล้ว จึงได้มีการทำประชามติเพื่อขอความเห็นชอบจากประชาชน เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2550 โดยผลปรากฏว่า

ผู้มีสิทธิลงประชามติ จำนวน 45,092,955 คน มาลงประชามติ 25,978,954 คน คิดเป็น 57.61% ไม่มาลงประชามติ 19,114,001 คน หรือ 42.39% ผลการลงประชามติ เห็นชอบ 14,727,306 หรือ 57.81% ไม่เห็นชอบ 10,747,441 หรือ 42.19 %ไม่เห็นชอบ หลังจากนั้น จึงได้นำทูลเกล้าฯ ถวายให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 และได้จัดให้มีเลือกตั้งใหม่ในเวลาต่อมา

การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จึงเป็นกระบวนการเรียนรู้ทางการเมืองครั้งสำคัญของสังคมที่คนไทยลุกขึ้นมาถกเถียงแลกเปลี่ยนทั้งเห็นด้วยและคัดค้าน อันนำมาซึ่งการตื่นตัวของประชาชน

ดังนั้น เมื่อรัฐธรรมนูญปี 2550 ต้องยกเลิกไปด้วยเหตุผลของการเข้าควบคุมอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จึงต้องขอประชามติก่อน

ประการที่สำคัญ ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่กำหนดเจตนารมณ์สำคัญ คือ สร้างพลเมืองเป็นใหญ่ ทำการเมืองใสสะอาดและสมดุล หนุนสังคมที่เป็นธรรมและนำชาติสู่สันติสุข โดยคณะผู้ยกร่างชุดนี้นั้น

ความเป็นประชาชน จาก “ไพร่ฟ้าหน้าใส” ในยุคอดีตสู่ความเป็น “ราษฎร” จากการอภิวัฒน์ 2475 จนถึง “พลเมือง” ตามความหมายของร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ก็ยังมีข้อสงสัยนัยยะต่างๆ จากหลายส่วน

รวมไปถึงระบบการเลือกตั้งแบบใหม่ การเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ ตามมาตรา 105,106 หรือที่เรียกว่า แบบ open list ที่เปิดโอกาสให้พลเมืองสามารถเลือกตัวบุคคลที่ต้องการให้เป็นผู้แทนราษฎรได้

มาตรา 105 บัญญัติว่า การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกบัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งที่พรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมืองจัดทำขึ้น โดยให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกบัญชีรายชื่อใดบัญชีรายชื่อหนึ่งเพียงบัญชีเดียว และอาจระบุด้วยว่าต้องการให้ผู้ใดที่มีชื่อในบัญชีนั้นหนึ่งคนได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาตรา 106 บัญญัติว่า การกำหนดเขตเลือกตั้ง สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ให้จัดแบ่งพื้นที่ประเทศออกเป็นหกภาค และให้แต่ละภาคเป็นเขตเลือกตั้ง 
กลุ่มการเมืองรวมทั้งอำนาจหน้าที่ขององค์กรใหม่ 11 องค์กรตามร่างรัฐธรรมนูญ เหล่านี้เป็นเรื่องใหม่ที่ประชาชนยังไม่เข้าใจ จำเป็นที่ผู้ยกร่างฯ ต้องเปิดเวทีให้ความรู้ความเข้าใจกับประชาชนโดยเร่งด่วน

การลงประชามติ จึงกระบวนการสำคัญในการขอฉันทานุมัติตามหลักการร่างรัฐธรรมนูญที่ดี อันจะนำมาซึ่งการตื่นตัวทางการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปฏิรูปประเทศต่อไปในอนาคต

----------------------------------
หมายเหตุ พิมพ์ครั้งแรกในคอลัมน์ “ชานชาลาประชาชน”
หนังสือแทบลอยด์ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 10-16 พฤษภาคม 2558  

 

 

 

พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ

 


 

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

 


 

www.apdi2002.com 

 

 

 

16 เม.ย.59

 

 

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-04-29 07:32:55 IP : 125.26.208.58


ความคิดเห็นที่ 8 (3919002)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-04-30 09:08:28 IP : 125.26.236.120


ความคิดเห็นที่ 9 (3919193)

  “ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องทำประชามติ ด้วยเหตุผลคือรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เป็นฉบับประชาชน รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 เป็นฉบับที่ผ่านประชามติ ดังนั้น เมื่อยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จะมีเหตุผลใดที่จะไม่นำรัฐธรรมนูญ กลับไปหาประชาชนอีก แต่การจะให้มีการออกเสียงประชามติได้ ต้องแก้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557 โดยความเห็นชอบร่วมกันของ คสช., ครม. และ สนช.”

 

 พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com  

FB. สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-02 15:37:00 IP : 110.78.175.197


ความคิดเห็นที่ 10 (3919429)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-03 21:46:29 IP : 110.77.171.140


ความคิดเห็นที่ 11 (3919737)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

  เหลือเวลาอีก  3  เดือนเต็ม นับจากวันนี้.

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทาางการเคลื่อนไหวสากล

fb. สมาคมคนพิิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

 

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-07 10:22:39 IP : 125.26.229.251


ความคิดเห็นที่ 12 (3919779)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

  เหลือเวลาอีก  3  เดือนเต็ม นับจากวันนี้.

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทาางการเคลื่อนไหวสากล

fb. สมาคมคนพิิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-08 15:12:24 IP : 27.145.62.113


ความคิดเห็นที่ 13 (3919996)

 สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ขอเชิญชวนท่านไปลงประชามติ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่

วันอาทิตย์ ที่ 7 สิงหาคม 2559

ซึ่งเป็นสิทธิของท่าน

 

===================

พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ

นายกสมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

E-mail : apdi9000@gmail.com

TEL./ FAX. 02-990-0331

Mob. 08-1735 - 2316

10 พ.ค.59

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-10 09:15:27 IP : 125.26.234.103


ความคิดเห็นที่ 14 (3920400)

  รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

  

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทาางการเคลื่อนไหวสากล

fb. สมาคมคนพิิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-12 08:16:59 IP : 125.26.216.56


ความคิดเห็นที่ 15 (3920559)

  “ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องทำประชามติ ด้วยเหตุผลคือรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เป็นฉบับประชาชน รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 เป็นฉบับที่ผ่านประชามติ ดังนั้น เมื่อยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จะมีเหตุผลใดที่จะไม่นำรัฐธรรมนูญ กลับไปหาประชาชนอีก แต่การจะให้มีการออกเสียงประชามติได้ ต้องแก้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557 โดยความเห็นชอบร่วมกันของ คสช., ครม. และ สนช.”

 

 พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com  

FB. สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-13 07:35:30 IP : 125.26.224.178


ความคิดเห็นที่ 16 (3920865)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

  

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทาางการเคลื่อนไหวสากล

fb. สมาคมคนพิิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-16 11:07:12 IP : 27.145.62.113


ความคิดเห็นที่ 17 (3993830)

 “ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องทำประชามติ ด้วยเหตุผลคือรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เป็นฉบับประชาชน รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 เป็นฉบับที่ผ่านประชามติ ดังนั้น เมื่อยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จะมีเหตุผลใดที่จะไม่นำรัฐธรรมนูญ กลับไปหาประชาชนอีก แต่การจะให้มีการออกเสียงประชามติได้ ต้องแก้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557 โดยความเห็นชอบร่วมกันของ คสช., ครม. และ สนช.”

 

 พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com  

FB. สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-17 07:30:43 IP : 125.26.214.185


ความคิดเห็นที่ 18 (3994046)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

  

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทาางการเคลื่อนไหวสากล

fb. สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-18 08:43:49 IP : 125.26.226.62


ความคิดเห็นที่ 19 (3994247)

  “ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องทำประชามติ ด้วยเหตุผลคือรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เป็นฉบับประชาชน รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 เป็นฉบับที่ผ่านประชามติ ดังนั้น เมื่อยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จะมีเหตุผลใดที่จะไม่นำรัฐธรรมนูญ กลับไปหาประชาชนอีก แต่การจะให้มีการออกเสียงประชามติได้ ต้องแก้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557 โดยความเห็นชอบร่วมกันของ คสช., ครม. และ สนช.”

 

 พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com  

FB. สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-19 07:46:38 IP : 125.26.232.3


ความคิดเห็นที่ 20 (3994844)

  รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

  

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทาางการเคลื่อนไหวสากล

fb. สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-24 08:04:11 IP : 125.26.224.230


ความคิดเห็นที่ 21 (4005135)

  “ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องทำประชามติ ด้วยเหตุผลคือรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เป็นฉบับประชาชน รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 เป็นฉบับที่ผ่านประชามติ ดังนั้น เมื่อยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จะมีเหตุผลใดที่จะไม่นำรัฐธรรมนูญ กลับไปหาประชาชนอีก แต่การจะให้มีการออกเสียงประชามติได้ ต้องแก้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557 โดยความเห็นชอบร่วมกันของ คสช., ครม. และ สนช.”

 

 พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com  

FB. สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-26 17:32:51 IP : 1.0.157.104


ความคิดเห็นที่ 22 (4005402)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

  

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทาางการเคลื่อนไหวสากล

fb. สมาคมคนพิิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-28 10:06:15 IP : 125.26.238.173


ความคิดเห็นที่ 23 (4005462)

 “ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องทำประชามติ ด้วยเหตุผลคือรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เป็นฉบับประชาชน รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 เป็นฉบับที่ผ่านประชามติ ดังนั้น เมื่อยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จะมีเหตุผลใดที่จะไม่นำรัฐธรรมนูญ กลับไปหาประชาชนอีก แต่การจะให้มีการออกเสียงประชามติได้ ต้องแก้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557 โดยความเห็นชอบร่วมกันของ คสช., ครม. และ สนช.”

 

 พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com  

FB. สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-29 18:30:27 IP : 125.26.225.67


ความคิดเห็นที่ 24 (4005672)

  รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทำไมต้องลงประชามติ

 

สุริยันต์ ทองหนูเอียด

หลังจากนายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ ประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ กล่าวบนเวทีการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 ประจำการศึกษา 2557 ที่ ม.รังสิต เมื่อ 7 พฤษภาคม 2558 ที่ผ่านมาว่า

“ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องทำประชามติ ด้วยเหตุผลคือรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เป็นฉบับประชาชน รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 เป็นฉบับที่ผ่านประชามติ ดังนั้น เมื่อยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จะมีเหตุผลใดที่จะไม่นำรัฐธรรมนูญ กลับไปหาประชาชนอีก แต่การจะให้มีการออกเสียงประชามติได้ ต้องแก้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557 โดยความเห็นชอบร่วมกันของ คสช., ครม. และ สนช.”

นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ กล่าวต่อไปว่า ซึ่งหากจะดำเนินการก็ต้องขยายเวลาออกไปอีกระยะหนึ่ง และต้องจัดส่งร่างรัฐธรรมนูญกว่า 42 ล้านฉบับ เพื่อส่งให้ประชาชนศึกษา ก่อนจะออกเสียงประชามติ 
“หากทำประชามติ คงไม่ใช่ใช้เวลาเพียง 1 เดือน อย่างที่คนเขาพูด เพราะต้องมีกระบวนการ เช่น พิมพ์ร่างรัฐธรรมนูญจำนวน 42 ล้านฉบับ เพื่อแจกให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งได้พิจารณาและเปิดเวที ทั้งผ่านสถานีโทรทัศน์ วิทยุ ให้ทุกภาคส่วนและทุกฝ่าย ทั้งที่เห็นด้วย กับไม่เห็นด้วย แสดงความเห็นได้อย่างเต็มที่ ก่อนที่จะให้ประชาชนไปหย่อนบัตรออกเสียงประชามติ ดังนั้น ต้องใช้เวลามากกว่า 1 เดือน แต่หากจะใช้เวลาเพียง 1 เดือนจริง อาจเป็นวิธีที่ไม่เป็นไปตามหลักสากล”

ผู้เขียน เห็นว่า นอกจากเหตุผลที่นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ ประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญกล่าวถึงการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่จำเป็นต้องกลับไปให้ประชาชนลงให้ประชามติแล้ว

ประการแรก การยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในสถานการณ์ปัจจุบันที่ประชาชนต้องการให้มีการปฏิรูปประเทศทั้งระบบ แต่ในสถานการณ์พิเศษเช่นนี้ พบว่าประชาชนมีส่วนร่วมในการยกร่างน้อยมาก

ทั้งนี้อาจจะเป็นเพราะว่ากระบวนการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันจำกัดอยู่ในวงแคบ รวมทั้งเงื่อนไขของกฎอัยการศึกและการใช้อำนาจตามมาตรา 44 ทำให้บรรยากาศไม่ส่งเสริมการยกร่างเท่าที่ควร

ประการต่อมา เมื่อเปรียบเทียบกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการยกร่างรัฐธรรมปี 2540 ประชาชนตื่นตัวอย่างกว้างขวางมีการจัดเวทีทั่วประเทศ ระดมข้อเสนอต่อเนื้อหารัฐธรรมนูญอย่างเข้มข้น
ดังเช่น การเคลื่อนไหวของเครือข่ายองค์กรประชาธิปไตยและองค์กรประชาชน 30 องค์กร ซึ่งมีคณะกรรมการณรงค์เพื่อประชิปไตย(ครป.) เป็นกองเลขานุการและศูนย์ประสานงานองค์กรประชาชนทั่วประเทศ เพื่อรวบรวมและประมวลข้อคิดเห็นจากประชาชนเครือข่ายต่างๆ ในการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน โดยคำนึงถึงกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน โดยเฉพาะประชาชนคนยากจน ผู้ไร้โอกาสทางสังคม คนชายขอบ และประชาชนผู้รักชาติรักประชาธิปไตย เครือข่ายองค์กรนักธุรกิจ นิสิตนักศึกษา ปัญญาชน กลุ่มผู้ใช้แรงงาน สหภาพรัฐวิสาหกิจกลุ่มต่างๆ เพื่อนำเสนอต่อสภาร่างรัฐธรรมนูญ(สสร.) อย่างต่อเนื่อง และได้เข้าร่วมเคลื่อนไหวกับภาคประชาชนเพื่อผลักดันร่างรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว จนรัฐสภาได้ผ่านความเห็นชอบในที่สุดและมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2540 เป็นต้น
ขณะที่การยกร่างรัฐธรรมนูญปี 2550 แม้จะมีความขัดแย้งทางความคิดทางการเมือง แต่ก็มีการถกเถียงแลกเปลี่ยนในเหตุผลความเห็นต่าง ทั้งสนับสนุนและคัดค้านรัฐธรรมนูญจนถึงการทำประชามติ

ดังเป็นรับทราบว่า เมื่อสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) ปี 2550 ยกร่างรัฐธรรมนูญเสร็จแล้ว จึงได้มีการทำประชามติเพื่อขอความเห็นชอบจากประชาชน เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2550 โดยผลปรากฏว่า

ผู้มีสิทธิลงประชามติ จำนวน 45,092,955 คน มาลงประชามติ 25,978,954 คน คิดเป็น 57.61% ไม่มาลงประชามติ 19,114,001 คน หรือ 42.39% ผลการลงประชามติ เห็นชอบ 14,727,306 หรือ 57.81% ไม่เห็นชอบ 10,747,441 หรือ 42.19 %ไม่เห็นชอบ หลังจากนั้น จึงได้นำทูลเกล้าฯ ถวายให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 และได้จัดให้มีเลือกตั้งใหม่ในเวลาต่อมา

การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จึงเป็นกระบวนการเรียนรู้ทางการเมืองครั้งสำคัญของสังคมที่คนไทยลุกขึ้นมาถกเถียงแลกเปลี่ยนทั้งเห็นด้วยและคัดค้าน อันนำมาซึ่งการตื่นตัวของประชาชน

ดังนั้น เมื่อรัฐธรรมนูญปี 2550 ต้องยกเลิกไปด้วยเหตุผลของการเข้าควบคุมอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จึงต้องขอประชามติก่อน

ประการที่สำคัญ ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่กำหนดเจตนารมณ์สำคัญ คือ สร้างพลเมืองเป็นใหญ่ ทำการเมืองใสสะอาดและสมดุล หนุนสังคมที่เป็นธรรมและนำชาติสู่สันติสุข โดยคณะผู้ยกร่างชุดนี้นั้น

ความเป็นประชาชน จาก “ไพร่ฟ้าหน้าใส” ในยุคอดีตสู่ความเป็น “ราษฎร” จากการอภิวัฒน์ 2475 จนถึง “พลเมือง” ตามความหมายของร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ก็ยังมีข้อสงสัยนัยยะต่างๆ จากหลายส่วน

รวมไปถึงระบบการเลือกตั้งแบบใหม่ การเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ ตามมาตรา 105,106 หรือที่เรียกว่า แบบ open list ที่เปิดโอกาสให้พลเมืองสามารถเลือกตัวบุคคลที่ต้องการให้เป็นผู้แทนราษฎรได้

มาตรา 105 บัญญัติว่า การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกบัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งที่พรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมืองจัดทำขึ้น โดยให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกบัญชีรายชื่อใดบัญชีรายชื่อหนึ่งเพียงบัญชีเดียว และอาจระบุด้วยว่าต้องการให้ผู้ใดที่มีชื่อในบัญชีนั้นหนึ่งคนได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาตรา 106 บัญญัติว่า การกำหนดเขตเลือกตั้ง สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ให้จัดแบ่งพื้นที่ประเทศออกเป็นหกภาค และให้แต่ละภาคเป็นเขตเลือกตั้ง 
กลุ่มการเมืองรวมทั้งอำนาจหน้าที่ขององค์กรใหม่ 11 องค์กรตามร่างรัฐธรรมนูญ เหล่านี้เป็นเรื่องใหม่ที่ประชาชนยังไม่เข้าใจ จำเป็นที่ผู้ยกร่างฯ ต้องเปิดเวทีให้ความรู้ความเข้าใจกับประชาชนโดยเร่งด่วน

การลงประชามติ จึงกระบวนการสำคัญในการขอฉันทานุมัติตามหลักการร่างรัฐธรรมนูญที่ดี อันจะนำมาซึ่งการตื่นตัวทางการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปฏิรูปประเทศต่อไปในอนาคต

----------------------------------
หมายเหตุ พิมพ์ครั้งแรกในคอลัมน์ “ชานชาลาประชาชน”
หนังสือแทบลอยด์ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 10-16 พฤษภาคม 2558  

 

 

 

 

พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ

 


 

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

 


 

www.apdi2002.com 

 

 

  

 

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-05-30 19:49:11 IP : 125.26.212.21


ความคิดเห็นที่ 25 (4005971)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

  

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทาางการเคลื่อนไหวสากล

fb. สมาคมคนพิิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-01 07:55:04 IP : 125.26.229.93


ความคิดเห็นที่ 26 (4006240)

  รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-02 11:17:48 IP : 171.98.212.172


ความคิดเห็นที่ 27 (4006556)

 

รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

  

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทาางการเคลื่อนไหวสากล

fb. สมาคมคนพิิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

 
ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-03 17:26:40 IP : 125.26.227.199


ความคิดเห็นที่ 28 (4006571)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-03 20:23:35 IP : 125.26.227.199


ความคิดเห็นที่ 29 (4006595)

  รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทำไมต้องลงประชามติ

 

สุริยันต์ ทองหนูเอียด

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-04 15:33:05 IP : 125.26.228.212


ความคิดเห็นที่ 30 (4006822)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

 

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-07 08:47:51 IP : 125.26.235.110


ความคิดเห็นที่ 31 (4007470)

  รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-11 06:14:31 IP : 125.26.227.127


ความคิดเห็นที่ 32 (4007494)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

 

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-12 08:28:28 IP : 125.26.224.245


ความคิดเห็นที่ 33 (4007898)

เหลือเวลาอีกไม่นานแล้วครับ.......ก็จะถึงวันที่พวกเราต้องไปใช้สิทธิออกความเห็นในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่ง........ จะลงประชามติในวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล APDI.

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-14 17:33:42 IP : 125.26.224.237


ความคิดเห็นที่ 34 (4008098)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

 

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-15 19:16:45 IP : 125.26.236.137


ความคิดเห็นที่ 35 (4008099)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

 

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-15 19:21:18 IP : 125.26.236.137


ความคิดเห็นที่ 36 (4008296)

 เหลือเวลาอีกไม่นานแล้วครับ.......ก็จะถึงวันที่พวกเราต้องไปใช้สิทธิออกความเห็นในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่ง........ จะลงประชามติในวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ท่านสามารถ ใช้สิทธิของท่านได้อย่างเสรี.

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล APDI.

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-16 21:38:50 IP : 223.204.29.79


ความคิดเห็นที่ 37 (4008605)

  “ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ต้องทำประชามติ ด้วยเหตุผลคือรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 เป็นฉบับประชาชน รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 เป็นฉบับที่ผ่านประชามติ ดังนั้น เมื่อยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 จะมีเหตุผลใดที่จะไม่นำรัฐธรรมนูญ กลับไปหาประชาชนอีก แต่การจะให้มีการออกเสียงประชามติได้ ต้องแก้รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557 โดยความเห็นชอบร่วมกันของ คสช., ครม. และ สนช.”

 

 พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com  

FB. สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-19 08:47:41 IP : 182.53.211.166


ความคิดเห็นที่ 38 (4008827)

  เหลือเวลาอีกไม่นานแล้วครับ.......ก็จะถึงวันที่พวกเราต้องไปใช้สิทธิออกความเห็นในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่ง........ จะลงประชามติในวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ท่านสามารถ ใช้สิทธิของท่านได้อย่างเสรี.

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล APDI.

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-21 08:42:18 IP : 125.26.213.100


ความคิดเห็นที่ 39 (4009609)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

 

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-25 08:48:23 IP : 125.26.236.220


ความคิดเห็นที่ 40 (4009640)

  เหลือเวลาอีกไม่นานแล้วครับ.......ก็จะถึงวันที่พวกเราต้องไปใช้สิทธิออกความเห็นในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่ง........ จะลงประชามติในวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ท่านสามารถ ใช้สิทธิของท่านได้อย่างเสรี.

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล APDI.

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-26 08:56:21 IP : 125.26.211.253


ความคิดเห็นที่ 41 (4009858)

  เหลือเวลาอีกไม่นานแล้วครับ....... 40  กว่าวัน.....ก็จะถึงวันที่พวกเราต้องไปใช้สิทธิออกความเห็นในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่ง........ จะลงประชามติในวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ท่านสามารถ ใช้สิทธิของท่านได้อย่างเสรี.

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล APDI.

www.apdi2002.com

27 jun.16

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-27 14:55:55 IP : 58.9.133.147


ความคิดเห็นที่ 42 (4010205)

 รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ลงประชามติวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

 

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

www.apdi2002.com

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-06-29 12:51:37 IP : 58.9.217.125


ความคิดเห็นที่ 43 (4010554)

   เหลือเวลาอีกไม่นานแล้วครับ....... 36  วัน.....ก็จะถึงวันที่พวกเราต้องไปใช้สิทธิออกความเห็นในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่ง........ จะลงประชามติในวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ท่านสามารถ ใช้สิทธิของท่านได้อย่างเสรี.

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล APDI.

www.apdi2002.com

2  jul.16

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-07-02 08:08:47 IP : 125.26.233.169


ความคิดเห็นที่ 44 (4010807)

  เหลือเวลาอีกไม่นานแล้วครับ....... 34  วัน.....ก็จะถึงวันที่พวกเราต้องไปใช้สิทธิออกความเห็นในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่ง........ จะลงประชามติใน

 

วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ท่านสามารถ ใช้สิทธิของท่านได้อย่างเสรี.

 

สมาคนคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ขอเชิญ

คนพิการที่มีอายุ ครบ 18 ปีบริบูรณ์ ในปีนี้ 2559

เพื่อไปใช้สิทธิของท่าน กากะบาท ในช่อง ..... เพื่อใช้สิทธิในการ รับร่างรัฐธรรมนูญ ว่า ท่านจะรับ หรือไม่รับ.

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล APDI.

www.apdi2002.com

5  jul.16

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-07-05 08:11:28 IP : 125.26.216.227


ความคิดเห็นที่ 45 (4011112)

   เหลือเวลาอีกไม่นานแล้วครับ....... 32  วัน.....ก็จะถึงวันที่พวกเราต้องไปใช้สิทธิออกความเห็นในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่ง........ จะลงประชามติใน

 

วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ท่านสามารถ ใช้สิทธิของท่านได้อย่างเสรี.

 

สมาคนคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ขอเชิญ

คนพิการที่มีอายุ ครบ 18 ปีบริบูรณ์ ในปีนี้ 2559

เพื่อไปใช้สิทธิของท่าน กากะบาท ในช่อง ..... เพื่อใช้สิทธิในการ รับร่างรัฐธรรมนูญ ว่า ท่านจะรับ หรือไม่รับ.

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล APDI.

www.apdi2002.com

7  jul.16

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-07-07 07:38:11 IP : 125.26.237.67


ความคิดเห็นที่ 46 (4011277)

   เหลือเวลาอีกไม่นานแล้วครับ....... 30  วัน.....ก็จะถึงวันที่พวกเราต้องไปใช้สิทธิออกความเห็นในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่ง........ จะลงประชามติใน

 

วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ท่านสามารถ ใช้สิทธิของท่านได้อย่างเสรี.

 

สมาคนคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ขอเชิญ

คนพิการที่มีอายุ ครบ 18 ปีบริบูรณ์ ในปีนี้ 2559

เพื่อไปใช้สิทธิของท่าน กากะบาท ในช่อง ..... เพื่อใช้สิทธิในการ รับร่างรัฐธรรมนูญ ว่า ท่านจะรับ หรือไม่รับ.

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล APDI.

www.apdi2002.com

8  jul.16

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-07-08 08:51:51 IP : 125.26.236.136


ความคิดเห็นที่ 47 (4011420)

  เหลือเวลาอีกไม่นานแล้วครับ....... 29  วัน.....ก็จะถึงวันที่พวกเราต้องไปใช้สิทธิออกความเห็นในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่ง........ จะลงประชามติใน

 

วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ท่านสามารถ ใช้สิทธิของท่านได้อย่างเสรี.

 

สมาคนคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ขอเชิญ

คนพิการที่มีอายุ ครบ 18 ปีบริบูรณ์ ในปีนี้ 2559

เพื่อไปใช้สิทธิของท่าน กากะบาท ในช่อง ..... เพื่อใช้สิทธิในการ รับร่างรัฐธรรมนูญ ว่า ท่านจะรับ หรือไม่รับ.

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล APDI.

www.apdi2002.com

9  jul.16

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-07-09 07:56:50 IP : 125.26.214.179


ความคิดเห็นที่ 48 (4011665)

  เหลือเวลาอีกไม่นานแล้วครับ....... 26  วัน.....ก็จะถึงวันที่พวกเราต้องไปใช้สิทธิออกความเห็นในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่ง........ จะลงประชามติใน

 

วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ท่านสามารถ ใช้สิทธิของท่านได้อย่างเสรี.

 

สมาคนคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ขอเชิญ

คนพิการที่มีอายุ ครบ 18 ปีบริบูรณ์ ในปีนี้ 2559

เพื่อไปใช้สิทธิของท่าน กากะบาท ในช่อง ..... เพื่อใช้สิทธิในการ รับร่างรัฐธรรมนูญ ว่า ท่านจะรับ หรือไม่รับ.

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล APDI.

www.apdi2002.com

12  jul.16

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-07-12 08:11:53 IP : 1.0.146.136


ความคิดเห็นที่ 49 (4011822)

  เหลือเวลาอีกไม่นานแล้วครับ....... 25  วัน.....ก็จะถึงวันที่พวกเราต้องไปใช้สิทธิออกความเห็นในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่ง........ จะลงประชามติใน

 

วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ท่านสามารถ ใช้สิทธิของท่านได้อย่างเสรี.

 

สมาคนคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ขอเชิญ

คนพิการที่มีอายุ ครบ 18 ปีบริบูรณ์ ในปีนี้ 2559

เพื่อไปใช้สิทธิของท่าน กากะบาท ในช่อง ..... เพื่อใช้สิทธิในการ รับร่างรัฐธรรมนูญ ว่า ท่านจะรับ หรือไม่รับ.

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล APDI.

www.apdi2002.com

13  jul.16

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-07-13 08:38:53 IP : 125.26.221.189


ความคิดเห็นที่ 50 (4011960)

  เหลือเวลาอีกไม่นานแล้วครับ....... 24  วัน.....ก็จะถึงวันที่พวกเราต้องไปใช้สิทธิออกความเห็นในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่ง........ จะลงประชามติใน

 

วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559

ท่านสามารถ ใช้สิทธิของท่านได้อย่างเสรี.

 

สมาคนคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล

ขอเชิญ

คนพิการที่มีอายุ ครบ 18 ปีบริบูรณ์ ในปีนี้ 2559

เพื่อไปใช้สิทธิของท่าน กากะบาท ในช่อง ..... เพื่อใช้สิทธิในการ รับร่างรัฐธรรมนูญ ว่า ท่านจะรับ หรือไม่รับ.

 

พันตรีศิริชัย  ทรัพย์ศิริ

sirichai sapsiri.

สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล APDI.

www.apdi2002.com

14  jul.16

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ วันที่ตอบ 2016-07-14 07:22:07 IP : 125.26.210.204



[1] 2 ถัดไป >>


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล



สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล 802/410 หมู่12 หมู่บ้านวังทองริเวอร์ปาร์ค ซอย10/4 ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130 โทร : 02-990-0331 Copyright © 2010 All Rights Reserved.