ReadyPlanet.com


คณะรัฐศาสตร์ - มหาวิทยาลัยปทุมธานี


จีนแซงเยอรมนี ชาติส่งออกอันดับหนึ่งของโลก

12 มกราคม 2553

วอชิงตันโพสต์,รอยเตอร์ จีนผงาดเป็นชาติผู้ส่งออกอันดับหนึ่งของโลก ขณะที่ยอดส่งออกและนำเข้าของจีนเดือนธ.ค.พุ่งสูงเกินคาด นักวิเคราะห์ฟันธง ภาคการส่งออกที่แข็งแกร่งจะเพิ่มแรงกดดันให้รัฐบาลปักกิ่งปล่อยเงินหยวนแข็งค่าในเร็ว นี้
       
       
สำนักงานศุลกากรของจีนเปิดเผยตัวเลขเมื่อวันอาทิตย์ (10 ม.ค.2553) ระบุ การส่งออกประจำเดือนธ.ค.ของจีนเพิ่มขึ้นร้อยละ17.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า ซึ่งเป็นการปรับขึ้นครั้งแรกในรอบ 14 เดือน
       
       
แม้มิใช่จีนชาติเดียว ที่ยอดส่งออกเดือนดังกล่าวพุ่งฉลุย เกาหลีใต้ และไต้หวันต่างก็ปรับขึ้นเช่นกัน ทว่าของจีนดีดไปไกลกว่า จนกระทั่งเบียดเยอรมนีตกอันดับชาติผู้ส่งออกอันดับหนึ่งของโลกในปีที่แล้วด้วยยอดมูลค่าการส่งออกกว่า 1.2 ล้านล้านดอลลาร์ ซึ่งสูงเล็กน้อยกว่าประมาณการณ์ส่งออก ที่ 1.17 ล้านล้านดอลลาร์ของแดนเบียร์ โดยสมาพันธ์การค้าส่งและการค้าต่างชาติแห่งเยอรมนี
       
       
อย่างไรก็ตาม ในท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอยเมื่อปีที่แล้ว จีนเบียดขึ้นสู่อันดับหนึ่งได้ก็เนื่องจากยอดส่งออกของจีนตกลงเพียงร้อยละ16 ขณะที่ยอดส่งออกของเยอรมนีดิ่งลึกกว่า
       
       
อาร์เทอร์ โครเบอร์ กรรมการผู้จัดการของดราโกโนมิกส์ บริษัทวิจัยเศรษฐกิจในกรุงปักกิ่งระบุว่า ข่าวใหญ่อันดับต่อไปของจีนก็คือจีนก้าวขึ้นเป็นชาติเศรษฐกิจใหญ่อันดับ 2 ของโลกแทนที่ญี่ปุ่น ซึ่งนักวิเคราะห์หลายคนคาดว่า น่าจะเกิดขึ้นในปีนี้
       

       ขณะเดียวกัน จีนยังคงเป็นชาติผู้นำเข้ารายใหญ่ โดยยอดนำเข้าเดือนธ.ค. เพิ่มร้อยละ 55.9 เป็นมูลค่า 112.3 พันล้าน ซึ่งสูงเป็นประวัติการณ์ โดยการนำเข้าส่วนใหญ่เป็นสินค้าโภคภัณฑ์ และเครื่องจักรกล ที่จำเป็นสำหรับโครงการก่อสร้างสิ่งสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งผุดขึ้นมากมายจากแผนกระตุ้นการใช้จ่ายจำนวนมหาศาลของรัฐบาลจีน
       

       
ตัวเลขเหล่านี้ ซึ่งรวมทั้งการเป็นชาติที่มีตลาดรถยนต์ และตลาดผู้ผลิตเหล็กกล้าขนาดใหญ่ที่สุดในโลกเมื่อปีก่อน ล้วนสะท้อนถึงการบริโภคและการลงทุน ที่ความคึกคักแข็งแกร่งบนแดนมังกร ซึ่งช่วยปรับสมดุลใหม่แก่เศรษฐกิจโลก
       
       
รายงานของบาร์เคลย์ส แคปปิตอลเมื่อเร็ว ๆ นี้ระบุว่า จีนเป็นผู้ขับเคลื่อนสำคัญรายหนึ่งต่อการฟื้นตัวของตลาดโภคภัณฑ์ต่าง ๆ เช่นออสเตรเลียในปี2552 โดยจากข้อมูลส่วนใหญ่เมื่อไม่นาน เช่นการใช้ไฟฟ้า ที่เพิ่มขึ้น ล้วนบ่งชี้ถึงความแข็งแกร่งของเศรษฐกิจจีน ซึ่งจะยังคงนำเข้าสินค้าโภคภัณฑ์ทุกชนิดอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่สินแร่เหล็ก น้ำมัน ตลอดจนถึงข้าวโพด
       

       อย่างไรก็ตาม นักเศรษฐศาสตร์มองว่า อัตราเร่งที่แข็งแกร่งของการนำเข้านี้ อาจทำให้มีโอกาสมากขึ้นที่เศรษฐกิจจีนจะร้อนแรง และยิ่งเพิ่มแรงกดดันให้รัฐบาลปักกิ่งใช้นโยบายเข้ามาควบคุม ซึ่งเห็นได้จากการขึ้นดอกเบี้ยร้อยละ0.05 สำหรับตั๋วเงินคลังอายุ 3 เดือนของธนาคารกลางจีนเมื่อวันพฤหัสฯ ( 7 ม.ค.2553) ซึ่งเป็นการขึ้นดอกเบี้ยครั้งแรก นับตั้งแต่เดือนสิงหาคม ปีที่แล้ว
       
       
นอกจากนั้น บรรดานักเศรษฐศาสตร์ เช่น ไบรอัน แจ็กสัน แห่งรอยัล แบงก์ ออฟ แคนาดา เชื่อว่าภาคการส่งออกที่แข็งแกร่งจะยิ่งกดดันให้ปักกิ่งปล่อยเงินหยวนแข็งค่า โดยตัวเลขเศรษฐกิจล่าสุดนี้ทำให้เจ้าหน้าที่ของจีนมั่นใจขึ้นว่า อุปสงค์ในโลกมิได้อ่อนแออย่างที่พวกตนกลัวกันไป และไตรมาสแรกของปีนี้จะเป็นช่วงสำคัญอย่างยิ่ง ที่จีนจะไตร่ตรองสิ่งที่เกิดขึ้น โดยหากตัวเลขเศรษฐกิจยังคงคึกคัก รัฐบาลก็อาจมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างๆ รวมทั้งนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนเงินหยวน หลังจากจีนไม่สนใจแรงกดดันจากสหรัฐฯ และชาติตะวันตก ที่ให้ปล่อยเงินหยวนแข็งค่า หลังจากเกิดวิกฤตการเงินโลกเมื่อกลางปี 2551
       
       
นักเศรษฐศาสตร์ส่วนหนึ่งมองว่า ถ้าภาคส่งออกของจีนยังคงแข็งแกร่ง เงินหยวนก็น่าจะเริ่มแข็งค่าขึ้นในราวสิ้นเดือนมีนาคม อย่างไรก็ตาม การแข็งค่าจะเป็นไปอย่างพอประมาณ คือร้อยละ 3 ตลอดทั้งปีนี้ เนื่องจากจีนยังต้องสร้างตำแหน่งงานในภาคส่งออก และพยุงให้เศรษฐกิจโต จากความเห็นของหลิน ซ่งหลี่ นักเศรษฐศาสตร์ของกั๋วเซิน ซิเคียวริตี้ในกรุงปักกิ่ง
       
       
ขณะที่หวง กั๊วหัว นักสถิติของสำนักงานศุลกากรของจีนเรียกการดีดตัวของการส่งออกประจำเดือนธ.ค.นี้ว่าเป็นจุดเปลี่ยนครั้งสำคัญและผู้ส่งออกของจีนได้เดินผ่านช่วงเวลา ที่อ่อนแอมาถูกทางแล้ว

- - - - - - - - - - - - - - - - - -  

พันตรีศิริชัย   ทรัพย์ศิริ

นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ รุ่น 8 มหาวิทยาลัยปทุมธานี  (มปท.)

1201531910

*********************

 



ผู้ตั้งกระทู้ พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ (apdmajor1-at-yahoo-dot-com) :: วันที่ลงประกาศ 2010-01-12 19:09:55 IP : 124.121.139.87


<< ก่อนหน้า 1 [2]

ความคิดเห็นที่ 51 (3240605)

 การจัดการภาครัฐและเอกชน    

 

1.การสอนงาน

       การสอนงาน (Coaching) คือ การทำงานโดยมีพนักงานที่ชำนาญหรือผู้บังคับบัญชาเป็น พี่เลี้ยงสอนงานให้อย่างมีขั้นตอน แล้วให้พนักงานลงมือทำ มีการติดตามและประเมินผล เพื่อให้พนักงานมีการนำไปใช้ คิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาได้

 วัตถุประสงค์

  • เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจความหมายของการสอนงาน และบทบาทของผู้สอนงาน ในการบริหารจัดการ
  • เข้าใจหลักการพื้นฐานของการสอนงาน และ Core Values ของผู้สอนงาน
  • เรียนรู้ทักษะที่จำเป็นและเทคนิคในการสอนงาน รวมถึงการนำไปประยุกต์ใช้โดยฝึกปฏิบัติใน workshop
  • ประเมินคุณลักษณะบุคคลโดยใช้แบบทดสอบ (DISC Model) เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจทางด้านบุคลิกภาพบุคคล นำไปสู่การปรับรูปแบบการสอนงานและพฤติกรรมให้เหมาะกับบุคลากรผู้ได้รับการสอนงานนั้นๆ
  • เรียนรู้ขั้นตอนของการ coach โดยใช้ GAPS ในการวางแผนการ coach และตั้งเป้าหมายการพัฒนา ร่วมกัน
  • สามารถจัดทำ Action Plan ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของบุคลากร (Employee Performance Goal) และเป้าหมายขององค์กร (Organization Performance Goal)

วิธีการสอนงาน  มี 2 วิธีขั้นพื้นฐาน คือ

1.     วิธีการสอนงานโดยตรง (สอนเอง)

         -ใข้สำหรับพัฒนาทักษะ ความชำนาญหรือเทคโนโลยี

-ใช้สำหรับการให้คำตอบ อาทิ การอธิบาย กลยุทธเชิงธุรกิจ

-ใช้สำหรับการสอนงาน

    2.  วิธีการสอนงานแบบให้การสนับสนุน (ให้คำปรึกษา)

        -ใช้สำหรับการสนับสนุนการแก้ปัญหาได้ด้วยกันเอง

        -ใช้สำหรับการสร้างความมั่นใจให้กับสมาชิกในทีม

        -ใช้สำหรับการสนับสนุน ให้เรียนรู้ด้วยตนเอง แม้ว่าจะหมายถึงความเสี่ยงที่  เกิดขึ้นจากความผิดพลาด

ความสำคัญของการสอนงาน

1. ไม่เกิดการลองผิดลองถูก การสอนงานเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ลดความผิดพลาดเสียหายและเวลาการทำงาน

2. การเรียนรู้เป็นไปอย่างถูกต้องสมบูรณ์ เกิดการถ่ายทอดงานและเทคนิคการปฏิบัติงาน จากหัวหน้าไปสู่ผู้ร่วมทีมงานช่วยให้เกิดความรู้ในการทำงานที่ถูกต้อง เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

3.  การปฏิบัติงานสะดวก รวดเร็วและปลอดภัย สามารถปรับปรุงงานให้ดีขึ้น

4. ไม่เสียเวลาแก้ไขงานที่ผิดพลาดและบกพร่อง

5. ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาไว้วางใจกันและเป็นโอกาสที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน

6.  ทำให้องค์ความรู้ไม่ติดกับตัวบุคคลเมื่อมีการเข้าออกจากงานก็มีผู้สืบต่องานได้

วิธีการสอนงานแบบ 4 Ps

1.PREPARE   เตรียมการสอน

- ให้ความรู้สึกเป็นกันเอง ผู้ที่จะเรียนรู้งานนั้นมีคามใหม่ มีความกังวล หากได้รับการต้อนรับและให้       ความเป็นกันเองได้ จะลดการเกิดการตื่นเต้นได้

- แจ้งขอบเขตงาน ที่จำทำการสอบงาน และไต่ถามว่าได้รู้งานมาแล้วเพียงใด เพื่อลดการสอนงานที่ไม่จำเป็น หรือเพื่อให้แน่ใจว่ามีความรู้ในงานนั้นจริงๆ เพื่อสามารถวางแผนการสอนได้ถูกต้องว่าต้องเน้นย้ำตรงส่้วนไหน

- ทำให้เกิคความสนใจในการเรียนรู้ในสิ่งที่กำลังสอน เพราะเราไม่สามารถสอนในสิ่งที่คนไม่ต้องการเรียนรู้ได้

-ให้ผู้เรียนอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง ไม่ว่าการนั่งหรือยืน ด้านหน้า ด้านหลังผู้สอน ซึ่งรวมทั้งสถานที่ที่จะสอนงาน

2.PRESENT  สาธิต แสดงวิธีการ

- การบอก การทำให้เห็นเป็นตัวอย่าง การอธิบายเหตุผล เป็นขั้นตอนที่สำคัญอย่างมากต่อความสำเร็จในการสอนงาน

- ในการสอนต้องมีการเน้นย้ำในจุดที่สำคัญ(key point)อยู่เสมอ ซึ่ง จุดที่สำคัญ(key point)หมายถึงสิ่งที่หากทำไม่ถูกต้องจะทำให้งานนั้นเสียหาย หรือใช้เวลานานกว่า

-การสอนงานในแต่ละจุด ต้องทำให้ชัดเจนสมบูรณ์ โดยต้องทำการอธิบายช้าๆ ในประเด็นที่สำคัญ

-การแสดงให้เห็นนี้ ต้องมีการวางแผนเป็นอย่างดี เพราะว่าพนักงานมีความสามารถในการเรียนรู้จำกัด ต้องมีการพักและตอกย้ำเป็นระยะๆ

- อย่าสอนเกินกว่าความสามารถในการเรียนรู้ได้ในช่วงเวลานั้นๆ

3.PERFORM   ลองปฏิบัติ

 -ก่อนให้เขาทำการทดลองปฏิบัติ ทำการทบทวนจุดสำคัญ สรุปว่าต้องทำอะไรบ้างและอย่างไร

-ให้พนักงานทดลองทำ เมื่อผู้เรียนทำไม่ถูกต้องให้ทำการแก้ไขข้อข้อผิดพลาดโดยทันที การสอนที่ดีต้องปล่อยให้ผู้เรียนทำถูกและทำผิด

-ให้พนักงานอธิบายในแต่ละจุดสำคัญ(key point)

-ทำให้แน่ใจว่าพนักงานมีความเข้าใจในจุดที่สำคัญ(key point)

-ให้พนักงานฝึกอย่างต่้อเนื่องจนมั่นใจว่าพนักงานสามารถปฏิบัติได้

4.PUT TO WORK  ให้ทำงาน

-ทำการระบุพี่เลี้ยงหรือผู้ที่สามารถให้ความช่วยเหลือ

-ทำการตรวจสอบความเข้าใจบ่อยๆ และเปิดโอกาศให้พนักงานสอบถามในสิ่งที่ไม่เข้าใจ

-กำหนดการเรียนรู้งานต่อไป

 

เมื่อใดที่ต้องมีการสอนงาน

-เมื่อพนักงานมีการโยกย้าย / เปลี่ยนงาน / ได้รับการมอบหมายงานใหม่

-เมื่อผลงานด้านคุณภาพหรือปริมาณงานของพนักงานต่ำกว่าระดับมาตรฐาน

-เมื่อต้องการจะพัฒนาความสามารถในการทำงานของพนักงาน ให้เต็มศักยภาพ

 

 

 

2.เทคนิคการควบคุมงานมีอะไรบ้าง

      การควบคุมงานเป็นการตรวจสอบการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามแผนและเป้าหมายหรือข้อตกลงตามที่กำหนดไว้หรือไม่

      เป็นงานขั้นตอนหนึ่งของการบริหาร ซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้บริหารทุกคน โดยผู้บริหารแต่ละระดับชั้นจะมีขอบเขตของการควบคุมงานที่แตกต่างกันการควบคุมงาน คือการใช้ศิลปะการบริหารเพื่อตรวจดูว่าการดำเนินงานเป็นไปโดยถูกต้องตามวิธีการหรือไม่และการปฏิบัติงานมีผลเพียงใด การควบคุมงานเป็นเครื่องช่วยกำกับกิจกรรมทั้งหลายให้ดำเนินไปโดยไม่ติดขัดและผิดพลาดโดยการควบคุมงานขึ้นอยู่กับความเป็นผู้นำของหัวหน้าหน่วยงาน ประสบการณ์และความสามารถของผู้ร่วมงาน รวมทั้งนิสัยและวินัยในการทำงานของผู้ปฏิบัติงานและหัวหน้างาน

การคาดคะเนความต้องการกำลังคนและการใช้เทคนิคและวิธีการต่าง ๆ

-การใช้วิจารณญาณผู้บริหาร

-การใช้อัตราส่วน

     1.อัตราส่วนประสิทธิภาพ       จำนวนผลงานที่ได้รับจากพนักงานโดยเฉลี่ย

     2.การใช้อัตราส่วนระหว่างกำลังคนในงานที่เกี่ยวข้อง

     3.การใช้เทคนิคการวัดงาน     การกำหนดระยะเวลาที่ต้องการทำงานชั้นใดชั้นหนึ่งให้บรรลุเป้าหมาย

 

วัตถุประสงค์ของ PERT เป็นแผนงานที่สามารถแสดงภาพรวมของโครงการด้วยข่ายงาน (Network) โดยแสดงกิจกรรมต่างๆในโครงการ ลำดับการทำงาน และความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมต่างๆ ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

1.     วางแผนโครงการ โดยจะทำการคำนวณระยะเวลาการทำงาน และแสดงถึงกิจกรรมแต่ละกิจกรรมว่าควรเริ่มเมื่อใด แล้วเสร็จเมื่อใด และสามารถกำหนดได้ว่ากิจกรรมใดเป็นกิจกรรมสำคัญ ทำงานล่าช้าไม่ได้ หรือล่าช้าได้ไม่เกินเท่าใด

2.     ควบคุมโครงการ สามารถควบคุมการทำงานตามแผนที่ได้วางไว้ และควบคุมการทำงานไม่ให้ล่าช้ากว่ากำหนด

3.     บริหารทรัพยากร กล่าวคือ สามารถใช้ทรัพยากรต่างๆ เช่น เงินลงทุน บุคลกร เครื่องมือ อุปกรณ์ และอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประโยชน์เต็มที่

4.     บริหารโครงการ งานที่ดำเนินการอยู่อาจจำเป็นต้องเร่งการดำเนินการเพื่อแล้วเสร็จกว่ากำหนด ก็สามารถทำได้ด้วยการเร่งทำกิจกรรมใดบ้าง เพื่อให้งานเสร็จในระยะเวลาที่เร็วขึ้น

 

วิธีการของ PERT

P.  Program           โครงการ

E.  Evalvate           การประเมิน

R.  Reivew             การทบทวน

T.  Teehnic            วิธีการ

 

1.เหตุการณ์ (Events)          แสดงการเริ่มต้นและสิ้นสุด

2.กิจกรรม  (Aeitivity)          งานที่ต้องบรรลุ

 

 

 

 

การเขียนโครงการการปฏิบัติตามเทคนิคของ PERT

ใช้สัญลักษณ์รูปวงกลม     หรือ             แทนเหตุการณ์

ใช้สัญลักษณ์รูปลูกศร                         แทนกิจกรรม

ใช้สัญลักษณ์รูป                                แทนระยะเวลามากหรือน้อย

                                                                                                  

                                                                                                                                       

                                                                               

Gantt Chart

 

3.การบริหารการเปลี่ยนแปลง  หมายถึง  การเปลี่ยนแปลงองค์กรทั้งหมดหรือบางส่วนขององค์การ การเปลี่ยนแปลงองค์การนี้รวมถึงการออกแบบโครงสร้างองค์การใหม่ การติดตั้งระบบสารสนเทศใหม่ และการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม

         เป็นเทคนิคการจัดการ เป็นส่วนหนึ่งของความสามารถหลักของผู้บริหาร ในยุคปัจจุบันที่เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารโทรคมนาคมที่ทันสมัย ที่ช่วยทำให้ผู้บริหารสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วทันต่อสถานการณ์ธรรมชาติและสิ่งมีชีวิต จะต้องปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกับองค์การที่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและมีการเตรียมความพร้อมที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นอย่างไม่คาดหวัง  ฃึ่งเกิดจากปัจจัยดังนี้

ปัจจัยภายในองค์การ  ทฤษฎีกลุ่มนี้เชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงเกิดจากปัจจัยภายในเป็นสำคัญ เช่น ผลผลิตต่ำ   ความขัดแย้งภายใน  การขาดงานบ่อย  การหมุนเวียนของผู้ปฏิบัติงาน ปัจจัยภายในนี้เป็นสาเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงองค์การได้

ปัจจัยภายนอกองค์การ   เป็นกลุ่มที่เชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงเกิดจากปัจจัยภายนอกกดดันให้องค์การต้องมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การแข่งขันที่รุนแรง  การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี หรือการเปลี่ยนแปลงของนโยบายรัฐบาล

วัตถุประสงค์   -เพื่อไม่ให้เป็นผู้พ่ายแพ้  –เพื่อรองรับสถานการณ์   -เพื่อชนะผู้แข่งขัน

KPI ย่อมาจาก   Key Performance Indicators

1. Key หมายถึง สำคัญที่สุดในกลุ่ม

2. Performance หมายถึง ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ดีแค่ไหน บรรลุ สำเร็จแค่ไหน

3. Indicator หมายถึง ตัววัดหรือคุณค่าที่ให้แก่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง

          ดังนั้น  KPI หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัด และประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญขององค์กร ซึ่งสามารถแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานขององค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์กรอาจแปลง่าย ๆ ว่า ตัววัดความสำเร็จที่สำคัญ

 

กระบวนการประเมินองค์การ

-กำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน

-กำหนดตัวชี้วัดและเครื่องชี้วัด

-การกำหนดเกณฑ์มาตราฐาน หรือตัวเปรียบเทียบ

-วิเคราะห์เปรียบเทียบกับมาตราฐานที่ตั้งไว้

กระบวนการ KPI

ขั้นที่ 1 การวางแผน

   1)การกำหนดนโนยบายคุณภาพ

         (1) ความต้องการของลูกค้า

              -ความต้องการของลูกค้า

              -ความต้องการของลูกค้ามิได้ระบุโดยตรง

              -ความต้องการของลูกค้าที่ระบุไว้ในกฏหมาย

              -ความต้องการของลูกค้าที่องค์กรกำหนดขึ้นเอง

         (2) จุดมุ่งหมายขององค์การ

         (3) ความพึงพอใจของลูกค้า

   2)การกำหนดกระบวนการของธุรกิจ

ขั้นที่ 2  การปฏิบัติ  (Do)

    1.การวางแผนการผลิต         กำหนดชนิด,ประเภท,จำนวน,มาตราฐานและบริการ

    2.การดำเนินการผลิตหรือ      การควบคุม

    3.การส่งมอบ

ขั้นที่ 3  การตรวจสอบ

ขั้นที่ 4  การแก้ไขปรับปรุง

                                                           

วงจร  PDCA

 

การจัดทำตัวชี้วัด

1.การกำหนดวัตถุประสงค์ ในแต่ละมุมมอง

    -ด้านการเงิน

    -ด้านลูกค้า

    -ด้านกระบวนการภายใน

ความคิดเห็นที่ 52 (3240606)

 การจัดการภาครัฐและเอกชน    

 

1.การสอนงาน

       การสอนงาน (Coaching) คือ การทำงานโดยมีพนักงานที่ชำนาญหรือผู้บังคับบัญชาเป็น พี่เลี้ยงสอนงานให้อย่างมีขั้นตอน แล้วให้พนักงานลงมือทำ มีการติดตามและประเมินผล เพื่อให้พนักงานมีการนำไปใช้ คิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาได้

 วัตถุประสงค์

  • เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจความหมายของการสอนงาน และบทบาทของผู้สอนงาน ในการบริหารจัดการ
  • เข้าใจหลักการพื้นฐานของการสอนงาน และ Core Values ของผู้สอนงาน
  • เรียนรู้ทักษะที่จำเป็นและเทคนิคในการสอนงาน รวมถึงการนำไปประยุกต์ใช้โดยฝึกปฏิบัติใน workshop
  • ประเมินคุณลักษณะบุคคลโดยใช้แบบทดสอบ (DISC Model) เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจทางด้านบุคลิกภาพบุคคล นำไปสู่การปรับรูปแบบการสอนงานและพฤติกรรมให้เหมาะกับบุคลากรผู้ได้รับการสอนงานนั้นๆ
  • เรียนรู้ขั้นตอนของการ coach โดยใช้ GAPS ในการวางแผนการ coach และตั้งเป้าหมายการพัฒนา ร่วมกัน
  • สามารถจัดทำ Action Plan ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของบุคลากร (Employee Performance Goal) และเป้าหมายขององค์กร (Organization Performance Goal)

วิธีการสอนงาน  มี 2 วิธีขั้นพื้นฐาน คือ

1.     วิธีการสอนงานโดยตรง (สอนเอง)

         -ใข้สำหรับพัฒนาทักษะ ความชำนาญหรือเทคโนโลยี

-ใช้สำหรับการให้คำตอบ อาทิ การอธิบาย กลยุทธเชิงธุรกิจ

-ใช้สำหรับการสอนงาน

    2.  วิธีการสอนงานแบบให้การสนับสนุน (ให้คำปรึกษา)

        -ใช้สำหรับการสนับสนุนการแก้ปัญหาได้ด้วยกันเอง

        -ใช้สำหรับการสร้างความมั่นใจให้กับสมาชิกในทีม

        -ใช้สำหรับการสนับสนุน ให้เรียนรู้ด้วยตนเอง แม้ว่าจะหมายถึงความเสี่ยงที่  เกิดขึ้นจากความผิดพลาด

ความสำคัญของการสอนงาน

1. ไม่เกิดการลองผิดลองถูก การสอนงานเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ลดความผิดพลาดเสียหายและเวลาการทำงาน

2. การเรียนรู้เป็นไปอย่างถูกต้องสมบูรณ์ เกิดการถ่ายทอดงานและเทคนิคการปฏิบัติงาน จากหัวหน้าไปสู่ผู้ร่วมทีมงานช่วยให้เกิดความรู้ในการทำงานที่ถูกต้อง เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

3.  การปฏิบัติงานสะดวก รวดเร็วและปลอดภัย สามารถปรับปรุงงานให้ดีขึ้น

4. ไม่เสียเวลาแก้ไขงานที่ผิดพลาดและบกพร่อง

5. ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาไว้วางใจกันและเป็นโอกาสที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน

6.  ทำให้องค์ความรู้ไม่ติดกับตัวบุคคลเมื่อมีการเข้าออกจากงานก็มีผู้สืบต่องานได้

วิธีการสอนงานแบบ 4 Ps

1.PREPARE   เตรียมการสอน

- ให้ความรู้สึกเป็นกันเอง ผู้ที่จะเรียนรู้งานนั้นมีคามใหม่ มีความกังวล หากได้รับการต้อนรับและให้       ความเป็นกันเองได้ จะลดการเกิดการตื่นเต้นได้

- แจ้งขอบเขตงาน ที่จำทำการสอบงาน และไต่ถามว่าได้รู้งานมาแล้วเพียงใด เพื่อลดการสอนงานที่ไม่จำเป็น หรือเพื่อให้แน่ใจว่ามีความรู้ในงานนั้นจริงๆ เพื่อสามารถวางแผนการสอนได้ถูกต้องว่าต้องเน้นย้ำตรงส่้วนไหน

- ทำให้เกิคความสนใจในการเรียนรู้ในสิ่งที่กำลังสอน เพราะเราไม่สามารถสอนในสิ่งที่คนไม่ต้องการเรียนรู้ได้

-ให้ผู้เรียนอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง ไม่ว่าการนั่งหรือยืน ด้านหน้า ด้านหลังผู้สอน ซึ่งรวมทั้งสถานที่ที่จะสอนงาน

2.PRESENT  สาธิต แสดงวิธีการ

- การบอก การทำให้เห็นเป็นตัวอย่าง การอธิบายเหตุผล เป็นขั้นตอนที่สำคัญอย่างมากต่อความสำเร็จในการสอนงาน

- ในการสอนต้องมีการเน้นย้ำในจุดที่สำคัญ(key point)อยู่เสมอ ซึ่ง จุดที่สำคัญ(key point)หมายถึงสิ่งที่หากทำไม่ถูกต้องจะทำให้งานนั้นเสียหาย หรือใช้เวลานานกว่า

-การสอนงานในแต่ละจุด ต้องทำให้ชัดเจนสมบูรณ์ โดยต้องทำการอธิบายช้าๆ ในประเด็นที่สำคัญ

-การแสดงให้เห็นนี้ ต้องมีการวางแผนเป็นอย่างดี เพราะว่าพนักงานมีความสามารถในการเรียนรู้จำกัด ต้องมีการพักและตอกย้ำเป็นระยะๆ

- อย่าสอนเกินกว่าความสามารถในการเรียนรู้ได้ในช่วงเวลานั้นๆ

3.PERFORM   ลองปฏิบัติ

 -ก่อนให้เขาทำการทดลองปฏิบัติ ทำการทบทวนจุดสำคัญ สรุปว่าต้องทำอะไรบ้างและอย่างไร

-ให้พนักงานทดลองทำ เมื่อผู้เรียนทำไม่ถูกต้องให้ทำการแก้ไขข้อข้อผิดพลาดโดยทันที การสอนที่ดีต้องปล่อยให้ผู้เรียนทำถูกและทำผิด

-ให้พนักงานอธิบายในแต่ละจุดสำคัญ(key point)

-ทำให้แน่ใจว่าพนักงานมีความเข้าใจในจุดที่สำคัญ(key point)

-ให้พนักงานฝึกอย่างต่้อเนื่องจนมั่นใจว่าพนักงานสามารถปฏิบัติได้

4.PUT TO WORK  ให้ทำงาน

-ทำการระบุพี่เลี้ยงหรือผู้ที่สามารถให้ความช่วยเหลือ

-ทำการตรวจสอบความเข้าใจบ่อยๆ และเปิดโอกาศให้พนักงานสอบถามในสิ่งที่ไม่เข้าใจ

-กำหนดการเรียนรู้งานต่อไป

 

เมื่อใดที่ต้องมีการสอนงาน

-เมื่อพนักงานมีการโยกย้าย / เปลี่ยนงาน / ได้รับการมอบหมายงานใหม่

-เมื่อผลงานด้านคุณภาพหรือปริมาณงานของพนักงานต่ำกว่าระดับมาตรฐาน

-เมื่อต้องการจะพัฒนาความสามารถในการทำงานของพนักงาน ให้เต็มศักยภาพ

 

 

 

2.เทคนิคการควบคุมงานมีอะไรบ้าง

      การควบคุมงานเป็นการตรวจสอบการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามแผนและเป้าหมายหรือข้อตกลงตามที่กำหนดไว้หรือไม่

      เป็นงานขั้นตอนหนึ่งของการบริหาร ซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้บริหารทุกคน โดยผู้บริหารแต่ละระดับชั้นจะมีขอบเขตของการควบคุมงานที่แตกต่างกันการควบคุมงาน คือการใช้ศิลปะการบริหารเพื่อตรวจดูว่าการดำเนินงานเป็นไปโดยถูกต้องตามวิธีการหรือไม่และการปฏิบัติงานมีผลเพียงใด การควบคุมงานเป็นเครื่องช่วยกำกับกิจกรรมทั้งหลายให้ดำเนินไปโดยไม่ติดขัดและผิดพลาดโดยการควบคุมงานขึ้นอยู่กับความเป็นผู้นำของหัวหน้าหน่วยงาน ประสบการณ์และความสามารถของผู้ร่วมงาน รวมทั้งนิสัยและวินัยในการทำงานของผู้ปฏิบัติงานและหัวหน้างาน

การคาดคะเนความต้องการกำลังคนและการใช้เทคนิคและวิธีการต่าง ๆ

-การใช้วิจารณญาณผู้บริหาร

-การใช้อัตราส่วน

     1.อัตราส่วนประสิทธิภาพ       จำนวนผลงานที่ได้รับจากพนักงานโดยเฉลี่ย

     2.การใช้อัตราส่วนระหว่างกำลังคนในงานที่เกี่ยวข้อง

     3.การใช้เทคนิคการวัดงาน     การกำหนดระยะเวลาที่ต้องการทำงานชั้นใดชั้นหนึ่งให้บรรลุเป้าหมาย

 

วัตถุประสงค์ของ PERT เป็นแผนงานที่สามารถแสดงภาพรวมของโครงการด้วยข่ายงาน (Network) โดยแสดงกิจกรรมต่างๆในโครงการ ลำดับการทำงาน และความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมต่างๆ ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

1.     วางแผนโครงการ โดยจะทำการคำนวณระยะเวลาการทำงาน และแสดงถึงกิจกรรมแต่ละกิจกรรมว่าควรเริ่มเมื่อใด แล้วเสร็จเมื่อใด และสามารถกำหนดได้ว่ากิจกรรมใดเป็นกิจกรรมสำคัญ ทำงานล่าช้าไม่ได้ หรือล่าช้าได้ไม่เกินเท่าใด

2.     ควบคุมโครงการ สามารถควบคุมการทำงานตามแผนที่ได้วางไว้ และควบคุมการทำงานไม่ให้ล่าช้ากว่ากำหนด

3.     บริหารทรัพยากร กล่าวคือ สามารถใช้ทรัพยากรต่างๆ เช่น เงินลงทุน บุคลกร เครื่องมือ อุปกรณ์ และอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประโยชน์เต็มที่

4.     บริหารโครงการ งานที่ดำเนินการอยู่อาจจำเป็นต้องเร่งการดำเนินการเพื่อแล้วเสร็จกว่ากำหนด ก็สามารถทำได้ด้วยการเร่งทำกิจกรรมใดบ้าง เพื่อให้งานเสร็จในระยะเวลาที่เร็วขึ้น

 

วิธีการของ PERT

P.  Program           โครงการ

E.  Evalvate           การประเมิน

R.  Reivew             การทบทวน

T.  Teehnic            วิธีการ

 

1.เหตุการณ์ (Events)          แสดงการเริ่มต้นและสิ้นสุด

2.กิจกรรม  (Aeitivity)          งานที่ต้องบรรลุ

 

 

 

 

การเขียนโครงการการปฏิบัติตามเทคนิคของ PERT

ใช้สัญลักษณ์รูปวงกลม     หรือ             แทนเหตุการณ์

ใช้สัญลักษณ์รูปลูกศร                         แทนกิจกรรม

ใช้สัญลักษณ์รูป                                แทนระยะเวลามากหรือน้อย

                                                                                                  

                                                                                                                                       

                                                                               

Gantt Chart

 

3.การบริหารการเปลี่ยนแปลง  หมายถึง  การเปลี่ยนแปลงองค์กรทั้งหมดหรือบางส่วนขององค์การ การเปลี่ยนแปลงองค์การนี้รวมถึงการออกแบบโครงสร้างองค์การใหม่ การติดตั้งระบบสารสนเทศใหม่ และการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม

         เป็นเทคนิคการจัดการ เป็นส่วนหนึ่งของความสามารถหลักของผู้บริหาร ในยุคปัจจุบันที่เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารโทรคมนาคมที่ทันสมัย ที่ช่วยทำให้ผู้บริหารสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วทันต่อสถานการณ์ธรรมชาติและสิ่งมีชีวิต จะต้องปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกับองค์การที่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและมีการเตรียมความพร้อมที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นอย่างไม่คาดหวัง  ฃึ่งเกิดจากปัจจัยดังนี้

ปัจจัยภายในองค์การ  ทฤษฎีกลุ่มนี้เชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงเกิดจากปัจจัยภายในเป็นสำคัญ เช่น ผลผลิตต่ำ   ความขัดแย้งภายใน  การขาดงานบ่อย  การหมุนเวียนของผู้ปฏิบัติงาน ปัจจัยภายในนี้เป็นสาเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงองค์การได้

ปัจจัยภายนอกองค์การ   เป็นกลุ่มที่เชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงเกิดจากปัจจัยภายนอกกดดันให้องค์การต้องมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การแข่งขันที่รุนแรง  การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี หรือการเปลี่ยนแปลงของนโยบายรัฐบาล

วัตถุประสงค์   -เพื่อไม่ให้เป็นผู้พ่ายแพ้  –เพื่อรองรับสถานการณ์   -เพื่อชนะผู้แข่งขัน

KPI ย่อมาจาก   Key Performance Indicators

1. Key หมายถึง สำคัญที่สุดในกลุ่ม

2. Performance หมายถึง ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ดีแค่ไหน บรรลุ สำเร็จแค่ไหน

3. Indicator หมายถึง ตัววัดหรือคุณค่าที่ให้แก่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง

          ดังนั้น  KPI หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัด และประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญขององค์กร ซึ่งสามารถแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานขององค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์กรอาจแปลง่าย ๆ ว่า ตัววัดความสำเร็จที่สำคัญ

 

กระบวนการประเมินองค์การ

-กำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน

-กำหนดตัวชี้วัดและเครื่องชี้วัด

-การกำหนดเกณฑ์มาตราฐาน หรือตัวเปรียบเทียบ

-วิเคราะห์เปรียบเทียบกับมาตราฐานที่ตั้งไว้

กระบวนการ KPI

ขั้นที่ 1 การวางแผน

   1)การกำหนดนโนยบายคุณภาพ

         (1) ความต้องการของลูกค้า

              -ความต้องการของลูกค้า

              -ความต้องการของลูกค้ามิได้ระบุโดยตรง

              -ความต้องการของลูกค้าที่ระบุไว้ในกฏหมาย

              -ความต้องการของลูกค้าที่องค์กรกำหนดขึ้นเอง

         (2) จุดมุ่งหมายขององค์การ

         (3) ความพึงพอใจของลูกค้า

   2)การกำหนดกระบวนการของธุรกิจ

ขั้นที่ 2  การปฏิบัติ  (Do)

    1.การวางแผนการผลิต         กำหนดชนิด,ประเภท,จำนวน,มาตราฐานและบริการ

    2.การดำเนินการผลิตหรือ      การควบคุม

    3.การส่งมอบ

ขั้นที่ 3  การตรวจสอบ

ขั้นที่ 4  การแก้ไขปรับปรุง

                                                           

วงจร  PDCA

 

การจัดทำตัวชี้วัด

1.การกำหนดวัตถุประสงค์ ในแต่ละมุมมอง

    -ด้านการเงิน

    -ด้านลูกค้า

    -ด้านกระบวนการภายใน

ความคิดเห็นที่ 53 (3240607)

วงจร  PDCA

 

การจัดทำตัวชี้วัด

1.การกำหนดวัตถุประสงค์ ในแต่ละมุมมอง

    -ด้านการเงิน

    -ด้านลูกค้า

    -ด้านกระบวนการภายใน

    -ด้านการพัฒนา

2.การกำหนดว่าอะไร คือสิ่งสำคัญที่ทำให้องค์การประสบความสำเร็จ

3.ปัจจัยความสำเร็จตามองค์การ

4.การจัดทำตัวชี้วัดโดยอาศัยการถาม-ตอบ

5.การจัดทำตัวชี้วัดจากแผนที่มีอยู่แล้ว

 

 

สรุป

          การบริหารการเปลี่ยนแปลง เป็นการบริหารที่มีความสำคัญ ซึ่งผู้บริหารจะต้องคำนึงถึงปัญหาในเชิงเทคนิค เชิงการเมือง และเชิงวัฒนธรรมองค์การ แล้วบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีอยู่ 4  ช่วงให้เหมาะสม คือ ช่วงของการสร้างวิสัยทัศน์ในการเปลี่ยนแปลง ช่วงของการพิจารณาอุปสรรคที่จะขัดขวางการเปลี่ยนแปลง ช่วงการดำเนินการเปลี่ยนแปลง และช่วงการประเมินผลการเปลี่ยนแปลง

 

 

+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-

รัฐศาสตร์รักกัน.....รัฐศาสตร์รักกัน.

 

- - - - - - - - - - - - - - - - - -  

พันตรีศิริชัย   ทรัพย์ศิริ

นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ ปี 2  รุ่น 8  มหาวิทยาลัยปทุมธานี

นายกสมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล (ส.พ.ค.)

โทร. 02-990-0331

http://www.apdi2002.com

http://www.youtube.com พิมพ์ apdi. หรือ

สมาคมคนพิการ

2103541103

*********************

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ (apdmajor1-at-yahoo-dot-com)วันที่ตอบ 2011-03-21 11:03:38 IP : 115.87.7.84


ความคิดเห็นที่ 54 (3240608)

วงจร  PDCA

 

การจัดทำตัวชี้วัด

1.การกำหนดวัตถุประสงค์ ในแต่ละมุมมอง

    -ด้านการเงิน

    -ด้านลูกค้า

    -ด้านกระบวนการภายใน

    -ด้านการพัฒนา

2.การกำหนดว่าอะไร คือสิ่งสำคัญที่ทำให้องค์การประสบความสำเร็จ

3.ปัจจัยความสำเร็จตามองค์การ

4.การจัดทำตัวชี้วัดโดยอาศัยการถาม-ตอบ

5.การจัดทำตัวชี้วัดจากแผนที่มีอยู่แล้ว

 

 

สรุป

          การบริหารการเปลี่ยนแปลง เป็นการบริหารที่มีความสำคัญ ซึ่งผู้บริหารจะต้องคำนึงถึงปัญหาในเชิงเทคนิค เชิงการเมือง และเชิงวัฒนธรรมองค์การ แล้วบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีอยู่ 4  ช่วงให้เหมาะสม คือ ช่วงของการสร้างวิสัยทัศน์ในการเปลี่ยนแปลง ช่วงของการพิจารณาอุปสรรคที่จะขัดขวางการเปลี่ยนแปลง ช่วงการดำเนินการเปลี่ยนแปลง และช่วงการประเมินผลการเปลี่ยนแปลง

+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-+-

รัฐศาสตร์รักกัน.....รัฐศาสตร์รักกัน.

 

- - - - - - - - - - - - - - - - - -  

พันตรีศิริชัย   ทรัพย์ศิริ

นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ ปี 2  รุ่น 8  มหาวิทยาลัยปทุมธานี

นายกสมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล (ส.พ.ค.)

โทร. 02-990-0331

http://www.apdi2002.com

http://www.youtube.com พิมพ์ apdi. หรือ

สมาคมคนพิการ

2103541118

*********************

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ (apdmajor1-at-yahoo-dot-com)วันที่ตอบ 2011-03-21 11:18:00 IP : 124.122.206.16


ความคิดเห็นที่ 55 (3241097)

ประกาศ คณะรัฐศาสตร์

มหาวิทยาลัยปทุมธานี

เรื่อง

 

พรุ่งนี้ สอบวันสุดท้ายของ ภาคการศึกษา 2/2553

อีก 2 วิชา.....

 

ของอ.สมพงษ์..... / อ.ไพฑรูย์

 

 

เช้า / บ่าย....

และทุกคนอย่างลืมลงทะเบียนภาคฤดูร้อนด้วย พรุ่งนี้ลงทะเบียนวันสุดท้าย

เย็นสอบเสร็จ.....คุณรัฐศาสตร์ รุ่น 8 กินเลี้ยง

โค้ชเข้ม เจ้าภาพ.....ครับ.

 

 

- - - - - - - - - - - - - - - - - -  

พันตรีศิริชัย   ทรัพย์ศิริ

นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ ปี 2  รุ่น 8  รหัส 52013351 มหาวิทยาลัยปทุมธานี

นายกสมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล (ส.พ.ค.)

โทร. 02-990-0331

http://www.apdi2002.com

http://www.youtube.com พิมพ์ apdi. หรือ

สมาคมคนพิการ

2603541839

*********************

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ (apdmajor1-at-yahoo-dot-com)วันที่ตอบ 2011-03-26 18:39:31 IP : 125.25.34.209


ความคิดเห็นที่ 56 (3241615)

 

พันตรีศิริชัย   ทรัพย์ศิริ

นายกสมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล (ส.พ.ค.)

โทร. 02-990-0331

http://www.apdi2002.com

http://www.youtube.com พิมพ์ apdi. หรือ

สมาคมคนพิการ

104541418

*********************

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ (apdmajor1-at-yahoo-dot-com)วันที่ตอบ 2011-04-01 14:18:43 IP : 125.25.59.40

ความคิดเห็นที่ 57 (3247475)

 

 

 

 

 

 

 


 

                                                

                                                                       มหาวิทยาลัยปทุมธานี

                                                                            คณะรัฐศาสตร์

                                                       แผนการสอน  ประจำภาคเรียนที่   1 / 2554

 

 

ชื่อวิชา ( ภาษาไทย ) มติมหาชนกับประชาธิปไตย 

 ชื่อภาษาอังกฤษ       Public Opinions and Democracy

รหัสวิชา                   PS 4302  หน่วยการเรียน   3 (3-0) หน่วยกิต

ภาคการศึกษาที่       1      ปีการศึกษา  2554

วิชาบังคับก่อน          ไม่มี

อาจารย์ผู้สอน           อาจารย์สมพงษ์  เชิดชัย

นักศึกษา สาขาวิชา   รัฐศาสตร์  คณะ   รัฐศาสตร์

คำบรรยายรายวิชา

                         ศึกษามติมหาชนในรูปแบบต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

อิทธิพล ของสื่อมวลชนในการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยกับระบบการปกครอง  รวมถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างกระแสประชามติ  การก่อตัวของความคิดเห็น

 

 จุดมุ่งหมายรายวิชา

 

 

                         1 .  เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับมติมหาชนในรูปแบบต่างๆ

                   2 .  เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้และเข้าใจในกระบวนการจัดทำมติมหาชนแต่ละประเภท

                         3.   เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้และเข้าใจในกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับมติมหาชน

                         4.   เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจในอิทธิพลของสื่อสารมวลชน ในการก่อให้เกิดการ

                                เปลี่ยนแปลงทางการเมืองแลระบบการปกครอง

                         5.   เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างกระแสประชามติ และการก่อตัว

                                 ของความคิดเห็น

 

รายชื่อหนังสือ  /  เอกสารค้นคว้าประกอบการสอน

 

                        ชื่อตำราหลัก

 

                               AAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAA

 

 

วิธีการวัดและการประเมินผล

 

             1.  การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ( ส่งสรุปข่าวฯ ) จำนวน  14  ครั้ง     10    คะแนน

 

             2.  การทำรายงานกลุ่ม     จำนวน 1 ฉบับ                                          10    คะแนน

 

             3.  การนำเสนอรายงานโดยกลุ่ม                                                         5    คะแนน

 

             4.  การวิจารณ์การนำเสนอ   จำนวน  10  ครั้ง                                   10    คะแนน

 

             5.  การเข้าชั้นเรียน                                                                                5    คะแนน

 

             5.  การสอบกลางภาค                                                                         30    คะแนน

 

             6.  การสอบปลายภาค                                                                         30    คะแนน

 

 

                                                                                 รวม                               100    คะแนน

 

 

 

 

 

เกณฑ์การประเมินผล

 

                                                               

                            ระดับคะแนน

                              ช่วงคะแนน

 

                             A

                        86-100

                             B+

                         80-85

                             B

                         74-79

                             C+

                         68-73

                             C

                         62-67

                             D+

                         56-61

                             D

                         50-55

                             F

                          0-49

 

 

 

 

 

 

 

 

รายการเนื้อหา  /  หัวข้อบรรยาย


ครั้งที่  (คาบ)

สัปดาห์ที่

(วัน เดือน ปี)

หัวข้อ/ ประเด็นทำการสอน

วิธีการสอน  /  สื่อการสอน

หมายเหตุ / ผู้บรรยาย

1

     มิ.ย. 2554

-แนะแนววิธีการเรียนการสอน  แนะนำหนังสืออ่านประกอบ 

-อธิบายถึงวิธีการประเมินผลการเรียน

-การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน/ การแบ่งกลุ่ม

ทำรายงานตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย

บรรยาย พร้อมฉายสไลด์

ความคิดเห็นที่ 58 (3247798)

วันพรุ่งนี้....

มหาวิทยาลัย

กำหนดเปิดภาคเรียนที่ 1/2554

วันเสาร์-อาทิตย์ที่  11-12 มิถุนายน 2554

และรับนักศึกษาใหม่ครับ.ทุกคณะ

 

 

- - - - - - - - - - - - - - - - - -  

พันตรีศิริชัย   ทรัพย์ศิริ

นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ ปี 3  รุ่น 8  มหาวิทยาลัยปทุมธานี

นายกสมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล (ส.พ.ค.)

โทร. 02-990-0331

http://www.apdi2002.com

http://www.youtube.com พิมพ์ apdi. หรือ

สมาคมคนพิการ

1006542003

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ (apdmajor1-at-yahoo-dot-com)วันที่ตอบ 2011-06-10 20:03:24 IP : 125.25.35.58


ความคิดเห็นที่ 59 (3251963)

KESO : Knowledge Experience Skills Opinion

การบริหารบุคคล เป็นการเลือกสรรคนใหม่และใช้คนเก่าในลักษณะที่จะให้ได้ผลงาน และปฎิบัติงานจากบุคคลเหล่านั้นให้มากที่สุดทั้งปริมาณและคุณภาพ 

โดยเครื่องมือในการวิเคราะห์คน นั่นก็คือ

KESO ซึ่งประกอบด้วย  

-knowledge: ความรู้      มีความรู้ในงาน หรือในเรื่องเกี่ยวกับงาน ซึ่งหาได้จากกระบวนการเรียนรู้  การสังเกต สอบถาม หรือจากตำรา หนังสือต่างๆ

-Experience: ประสบการณ์       โดยที่ประสบการณ์ในการทำงาน มาเป็นระยะเวลาหนึ่งนานนั้น จะเปลี่ยน ความรู้ที่ มีอยู่นั้นเป็นวิธีการทำงาน

-Skill: การเปลี่ยนความรู้เป็นวิธีการทำงาน      ซึ่งอาจส่งผลให้มีประสิทธิภาพในการทำงาน เพิ่มมากขึ้น

-Opinion: ความคิดเห็น-ทัศนคติ    เมื่อทำงานได้มี ประสิทธิภาพแล้วนั้น จะทำให้ทัศนคติในการทำงานนั้น เปลี่ยนไป อาจทำให้มีความชำนาญในการ ทำงาน หรือ อาจทำให้ทัศนคติ opinion ในการทำงานนั้น ดีขึ้นด้วย

 

ผู้แสดงความคิดเห็น พันตรีศิริชัย ทรัพย์ศิริ (apdmajor1-at-yahoo-dot-com)วันที่ตอบ 2011-07-31 08:05:59 IP : 101.108.98.94



<< ก่อนหน้า 1 [2]


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล



สมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล 802/410 หมู่12 หมู่บ้านวังทองริเวอร์ปาร์ค ซอย10/4 ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130 โทร : 02-990-0331 Copyright © 2010 All Rights Reserved.